วันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ลูกแรดเตรียมพร้อมล่าเหยื่อ

สิ่งที่ข้าพเจ้าได้จากการเรียนวิชาการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจมีดังนี้

1. นำความรุ้ที่ได้จากการเรียน มาใช้ในชีวิตประจำวัน
2. มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย มีความรับผิดชอบมากขึ้น
3. มีประสบการณ์ในการทำงาน และการทำงานเป็นทีม มากขึ้น
4. ได้รีบความคิดในแง่มุมไหม่ๆ มากขึ้น
5. นำความรุ้ที่ได้สามารถประกอบอาชีพที่สุจริตได้
6. มีบุคลิกภาพที่ดี มีมารยาทดีงามมากขึ้น

วันอาทิตย์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2552

dts08 25/8/2009

ทรี (Tree)
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ความสัมพันธ์ระหว่าง โหนดจะมีความสัมพันธ์ลดหลั่นกันเป็นลำดับชั้น (Hierarchical Relationship)ได้มีการนำรูปแบบทรีไปประยุกต์ใช้ในงานต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย ส่วนมากจะใช้สำหรับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเช่น แผนผังองค์ประกอบของหน่วยงานต่าง ๆโครงสร้างสารบัญหนังสือ เป็นต้น
แต่ละโหนดจะมีความสัมพันธ์กับโหนดในระดับที่ต่ำลงมา หนึ่งระดับได้หลาย ๆ โหนดเรียกโหนดดังกล่าวว่า โหนดแม่ (Parent orMother Node)โหนดที่อยู่ต่ำกว่าโหนดแม่อยู่หนึ่งระดับเรียกว่า โหนดลูก (Child or Son Node)โหนดที่อยู่ในระดับสูงสุดและไม่มีโหนดแม่เรียกว่า โหนดราก (Root Node)
โหนดที่มีโหนดแม่เป็นโหนดเดียวกันเรียกว่า โหนดพี่น้อง (Siblings)โหนดที่ไม่มีโหนดลูก เรียกว่าโหนดใบ (Leave Node)เส้นเชื่อมแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโหนดสองโหนดเรียกว่า กิ่ง (Branch)

โครงสร้างทรีที่แต่ละโหนดมีลิงค์ฟิลด์แค่สองลิงค์ฟิลด์ ซึ่งช่วยให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บได้มาก เรียกโครงสร้างทรีที่แต่ละโหนดมีจำนวนโหนดลูกไม่เกินสองหรือแต่ละโหนดมีจำนวนทรีย่อยไม่เกินสองนี้ว่า ไบนารีทรี (Binary Tree)

dts07 25/8/2009

คิว (Queue)
เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้นหรือลิเนียร์ลิสต์ซึ่งการเพิ่มข้อมูลจะกระทำที่ปลายข้างหนึ่งซึ่งเรียกว่าส่วนท้ายหรือเรียร์ (rear) และการนำข้อมูลออกจะกระทำที่ปลายอีกข้างหนึ่งซึ่งเรียกว่า ส่วนหน้า หรือฟรอนต์(front)ลักษณะการทำงานของคิวเป็นลักษณะของการเข้าก่อนออกก่อนหรือที่เรียกว่า FIFO (First In First Out)

การแทนที่ข้อมูลของคิว1. การแทนที่ข้อมูลของคิวแบบลิงค์ลิสต์
2. การแทนที่ข้อมูลของคิวแบบอะเรย์
การแทนที่ข้อมูลของสแตกแบบลิงค์ลิสต์จะประกอบไปด้วย 2 ส่วน

วันอังคารที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

Stack ที่เราเจอในชีวติประจำวัน

สแตก คือ ข้อมูลที่ใส่หลังสุดจะถูกนำออกมา จากสแตกเป็นลำดับแรกสุด
Stack ที่เราเจอในชีวติประจำวัน ของกระพมได้แก่
1.ตั๋วโรงภาพยนต์
ซึ่งมีกระบวนการทำงานเป็นขั้นตอน
2.ตั่วรถต่างๆ
ชึ่งมีกระบวนการทำงานเป็นขั้นตอน

dts05 23/07/2009

สัปดาห์นี้ ได้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง Stack
Stack เป็นโครงสร้างข้อมูลลิเนียร์ลิสต์ ที่มีคุณสมบัติที่ว่า
การเพิ่มหรือการลบข้อมูลในแสตก กระบวนการทำงานของ Stack มี
3 กระบวนการได้แก่ 1.Push
2.Pop
3.Stack Top
การแทนที่ข้อมูล Stack แบบลิงค์ลิสต์มี 2 ส่วนคือ
Head Node ประกอบด้วย top pointer และจำนวนสมาชิกในสแตก
และก็ Data Node ประกอบด้วย ข้อมูล และ พอยเตอร์ เป็นต้น

การเขียนโปรแกรมแบบ iostream.h กับ stdio.h

<เขียนโปรแกรมโดยใช้ "stdio.h">

#include
main()
{
int amount,price,pay;
printf("Jacky Shop:\n");
printf("===============\n");
printf("Amount :");
scanf("%d",&amount);
{
printf("Price : ");
scanf("%d",&price);
pay=amount*price
printf("You must pay %d baht\n",pay);
}
printf("===============\n");
}


<เขียนโปรแกรมโดยใช้ iostream.h >

#include
main()
{
int amount,price,pay;
cout<<"Jacky Shop\n";
cout<<"==================\n";
cout<<"Amount :";
cin>>amount;
{
cout<<"Enter Price : ";
cin>>price;
pay=amount*price
cout<<"You must pay "<<<" baht\n";
}
cout<<"===================\n";
}

dts04 15/07/2009

ในสัปดาห์นี้ เรียนเกี่ยวกับเรื่อง Linked List เกี่ยวกับพวกฟังก์ชั่น
แล้วก็เกี่ยวกับกระบวนการทำงาน ว่ามีหน้าที่อะไร และผลลัพธ์ที่ได้ เช่น
กระบวนงาน Insert Node และ กระบวนงาน Delete Node
Linked List แบบซับซ้อน เป็นต้น

วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

dts03 01/07/2009

Pointer

จากที่เรียนในสัปดาห์ที่แล้ว จะเรียนเรื่องเกี่ยวกับ pointer
pointer เป็นตัวแปรที่ทำหน้าที่เก็บตำแหน่งที่อยู่ address
เช่น int*a; คือ ประกาศตัวแปร a เปนตัวแปร pointer
ที่ไช้ตัวเก็บตำแหน่งเริ่มต้นที่จะใช้เก็บ integer
ได้เรียนถึงกับการใช้เครื่องหมายของ pointer
รวมไปถึงการใช้ตัวแปร pointer กับ array

การบ้าน

1. ให้นักศึกษากำหนดค่าของ Array 1 มิติ และ Array 2 มิติ
Array 1 มิติ
Char name[15]; เช่น
#include"stdio.h"
void main()
{
char name[15];
printf (“name?\n”);
scanf (“%s”, s);
printf (“name=%s. \n”, s);
}
array 2 มิติ
int num[3][3];
เราก็จะได้อาเรย์ชื่อ num มี 3 แถว แถวละ3 คอลัมน์
นั้นก็คือ
int num[3][3];
num [0][0] num [1][0] num [2][0]
num [0][1] num [1][1] num [2][1]
num [0][2] num [1][2] num [2][2]

2. ให้นักศึกษาหาค่าของ A[2],A[6]จากค่า A={2,8,16,24,9,7,3,8}
ค่าของ A[2]=16
ค่าของ A[6]=3

3. จากค่าของ int a[2][3]={{6,5,4},{3,2,1}}; ให้นักศึกษาหาค่าของ a[1][0] และ a[0][2]

ค่าของ a[1][0]=3
ค่าของ a[0][2]=4
4. ให้นักศึกษากำหนด structure ที่มีค่าของข้อมูลจากน้อย 6 Records
#include"stdio.h"
struct Water
{
int id;
char name[30];
int time;
int date;
int month;
int year;
int itemid;
int price;
}
water;
void input_data()
{
printf("Jacky drink shop\n");
printf("ID: ");
scanf("%d",&water.id);
printf("Name: ");
scanf("%s",&water.name);
printf("Time: ");
scanf("%d",&water.time);
printf("Date: ");
scanf("%d",&water.date);
printf("month: ");
scanf("%d",&water.month);
printf("Year: ");
scanf("%d",&water.year);
printf("Item ID: ");
scanf("%d",&water.itemid);
printf("Price: ");
scanf("%d",&water.price);
}
void show_data()
{
printf("\n\nData your is");
printf("ID: ");
printf("%d\n",water.id);
printf("Name: ");
printf("%s\n",water.name);
printf("Time: ");
printf("%f\n",water.time);
printf("Date-month-year : %d-%d-%d\n",water.date,water.month,water.year);
printf("Item: ");
printf("%d\n",water.itemid);
printf("Price: ");
printf("%d\n",water.price);
}
main()
{
input_data();
show_data();
}

5. ให้นักศึกษาบอกความแตกต่างของการกำหนดตัวชนิด Array กับตัวแปร Pointer ในสภาพของการกำหนดที่อยู่ของข้อมูล
pointer จะใช้พื้นที่มากกว่า array เพราะต้องเพิ่มพื้นที่ส่วนหนึ่งสำหรับเก็บตำแหน่งที่อยู่ของข้อมูลตัวถัดไป
array เป็นตัวแปรชุดที่ใช้เก็บตัวแปรชนิดเดียวกันไว้ด้วยกัน
pointer เป็นตัวเก็บตำแหน่งที่อยู่ของหน่วยความจำ (Address) หรือเรียกว่า ตัวชี้

วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

struct

#include"stdio.h"
struct Water
{
int id;
char name[30];
float time;
int date;
int month;
int year;
int itemid;
int price;
}
water;
void input_data()
{
printf("Custommer in drink shop\n");
printf("ID: ");
scanf("%d",&water.id);
printf("Name: ");
scanf("%s",&water.name);
printf("Time: ");
scanf("%f",&water.time);
printf("Date: ");
scanf("%d",&water.date);
printf("month: ");
scanf("%d",&water.month);
printf("Year: ");
scanf("%d",&water.year);
printf("Item ID: ");
scanf("%d",&water.itemid);
printf("Price: ");
scanf("%d",&water.price);
}
void show_data()
{
printf("\n\nData your is");
printf("ID: ");
printf("%d\n",water.id);
printf("Name: ");
printf("%s\n",water.name);
printf("Time: ");
printf("%f\n",water.time);
printf("Date-month-year : %d-%d-%d\n",water.date,water.month,water.year);
printf("Item: ");
printf("%d\n",water.itemid);
printf("Price: ");
printf("%d\n",water.price);
}
main()
{
input_data();
show_data();
}

วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS 2-24/6/52

Lecture 2
Aray and Record

Aray เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ประกอบด้วยสมาชิกจำนวนคงที่และมีรูปแบบเดียวกัน มีอยู่ 2 มิติ
การจัดเก็บอะเรย์1มิติ
data-type array-name[expression]โดย data-type
การจัดเก็บอะเรย์2มิติ
type array-name[n] [m];
record or Structure เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ประกอบด้วยข้อมูลโครงสร้าที่มีสมาชิกต่างประเภทกัน เช่นจำนวนเต็ม ทศนิยม อักขระ อะเรย์

DTS 1-17/6/52

การเรียนการสอนของสับปดาห์นี้
ไม่มีอะไรมากมาย แค่บอกกฏระเบียบในการเรียนการสอน
และการแต่งตัวต่างๆ

ประวัติ





ชื่อ นาย ชูศักดิ์ โถแพ



ชื่อเล่น แจ๊ค




Name MR.Chusak Thopae




รหัสนักศึกษา 50152792075




ปัจจุบันศึกษาอยู่ที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต หลักสูตร การบริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะ วิทยาการจัดการ








Telephone 086-7098965